ดอกอัญชัน

ประโยชน์ของดอกอัญชันที่บางท่านอาจไม่รู้
                               
ชื่อวิทยาศาสตร์: Clitornia ternatea                                         ชื่อวงศ์: FABACEAE-PAPILIONIDEAE
ชื่อสามัญ: Butterfly Pea Blue Pea Mussel - Shell Creeper    ชื่อท้องถิ่น: เอื้องชัน แดงชัน อูบีกือลิง หญ้าลินจัน
อัญชัน เป็นไม้เลื้อย ลำต้นมีสีเขียวมีขน ใบสีเขียวเป็นไม้ไม่ผลัดใบ ดอกสีน้ำเงินแก่ตรงกลางมีสีเหลืองบางชนิดมีสีขาว หรือสีม่วงอ่อน ผลแบบฝักถั่ว ขึ้นได้ดีในดินทั่วไป ชอบความชื้นปานกลาง ขึ้นงอกงามดีในดินที่มีอินทรีย์วัตถุสูง ชอบแสงทั้งวันอัตราการเจริญเติบดีมาก นิยมปลูกตามรั้ว เป็นซุ้ม เป็นพันธุ์ไม้ในเขตร้อน ขึ้นได้ทั่วไป
ดอกอัญชัน  มีสารแอนโไซยานิน ซึ่งมีคุณสมบัติเพิ่มการไหลเวียนของเลือดในหลอดเล็กๆ ทำให้เลือดไปเลี้ยงรากผมและนัยน์ตามากขึ้น สารแอนโทรไซยานินนี้จะพบในผลไม้และดอกไม้ที่มีสีน้ำเงิน สีแดง หรือสีม่วง มีคุณสมบัติเป็นสารต้านอนุมูลอิสระจากธรรมชาติ โดยที่พืชจะสร้างสารนี้ขึ้นมา เพื่อป้องกันดอกหรือผลตัวเอง จากอันตรายของแสงแดดหรือโรคภัย
ดอกสกัดสีมาทำสีประกอบอาหารได้ ดอกมีคุณค่าทางสมุนไพรช่วยปลูกผม ราก บำรุงตาลดอาการของโรคทางสายตา แก้ตาฟาง ตาแฉะ  ปรุงเป็นยาขับปัสสาวะ รากใช้ถูฟันแก้ปวดฟัน
ประโยชน์ที่ร่างกายจะได้รับ
คุณค่าทางอาหาร    สารอาหารให้สารสีฟ้า ซึ่งเป็นสารต้านอนุมูลอิสระ ป้องกันความเสื่อมของร่างกาย บำรุงผมให้สีเข้มเสมอ บำรุงสายตาป้องกันอันตรายจากแสงจ้า ลดความเสี่ยงจากการเกิดโรคร้าย
คุณค่าทางยา         
ดอกมีคุณค่าทางสมุนไพรช่วยปลูกผม ราก บำรุงสายตา ลดอาการของโรคทางสายตา เช่น ตาฟาง ตาแฉะ ตาอักเสบ ตาเสื่อมจากเบาหวานปรุงเป็นยาขับปัสสาวะ
คำแนะนำ
  • เลือก อัญชันสีน้ำเงิน เชื่อว่าสารอาหารจะมีมากกว่าสีอื่น และยังสวยงามเวลาทำเป็นน้ำอัญชัน
  • หากมีดอกสดมาก สามารถผึ่งในที่ร้อนและแห้ง โดยไม่โดนแดดจัด รอให้แห้ง เก็บไว้ในโถปิดสนิท จะใช้ได้ประมาณ 6 เดือน
  • ใช้ดอกแห้ง สัก 10 ดอก/แก้ว แทนดอกสด 5 ดอก ใช้ดอกแห้งเรียกว่าชาอัญชัน จะไม่มีกลิ่นเหม็นเขียว และไม่มีรสชาติ สามารถปรุงแต่งรสได้ตามชอบ เช่น น้ำผึ้ง,น้ำตาล,น้ำมะนาว เป็นต้น
ให้ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการศึกษาฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาของดอกอัญชันดังนี1. The present investigation was aimed at determining the spectrum of activity of the methanolic extract of Clitoria ternatea (CT) on the CNS. The CT was studied for its effect on cognitive behavior, anxiety, depression, stress and convulsions induced by pentylenetetrazol (PTZ) and maximum electroshock (MES). To explain these effects, the effect of CT was also studied on behavior mediated by dopamine (DA), noradrenaline, serotonin and acetylcholine. The extract decreased time required to occupy the central platform (transfer latency, TL) in the elevated plus maze (EPM) and increased discrimination index in the object recognition test, indicating nootropic activity. The extract was more active in the object recognition test than in the EPM. The extract increased occupancy in the open arm of EPM by 160% and in the lit box of the light/dark exploration test by 157%, indicating its anxiolytic activity. It decreased the duration of immobility in tail suspension test (suggesting its antidepressant activity), reduced stress-induced ulcers and reduced the convulsing action of PTZ and MES. The extract exhibited tendency to reduce the intensity of behavior mediated via serotonin and acetylcholine. The effect on DA- and noradrenaline-mediated behavior was not significant. In conclusion, the extract was found to possess nootropic, anxiolytic, antidepressant, anticonvulsant and antistress activity. Further studies are necessary to isolate the active principle responsible for the activities and to understand its mode of action (1).
                                    



ชื่อวิทยาศาสตร์: Clitornia ternatea                                         ชื่อวงศ์: FABACEAE-PAPILIONIDEAE
ชื่อสามัญ: Butterfly Pea Blue Pea Mussel - Shell Creeper    ชื่อท้องถิ่น: เอื้องชัน แดงชัน อูบีกือลิง หญ้าลินจัน
อัญชัน เป็นไม้เลื้อย ลำต้นมีสีเขียวมีขน ใบสีเขียวเป็นไม้ไม่ผลัดใบ ดอกสีน้ำเงินแก่ตรงกลางมีสีเหลืองบางชนิดมีสีขาว หรือสีม่วงอ่อน ผลแบบฝักถั่ว ขึ้นได้ดีในดินทั่วไป ชอบความชื้นปานกลาง ขึ้นงอกงามดีในดินที่มีอินทรีย์วัตถุสูง ชอบแสงทั้งวันอัตราการเจริญเติบดีมาก นิยมปลูกตามรั้ว เป็นซุ้ม เป็นพันธุ์ไม้ในเขตร้อน ขึ้นได้ทั่วไป
ดอกอัญชัน  มีสารแอนโไซยานิน ซึ่งมีคุณสมบัติเพิ่มการไหลเวียนของเลือดในหลอดเล็กๆ ทำให้เลือดไปเลี้ยงรากผมและนัยน์ตามากขึ้น สารแอนโทรไซยานินนี้จะพบในผลไม้และดอกไม้ที่มีสีน้ำเงิน สีแดง หรือสีม่วง มีคุณสมบัติเป็นสารต้านอนุมูลอิสระจากธรรมชาติ โดยที่พืชจะสร้างสารนี้ขึ้นมา เพื่อป้องกันดอกหรือผลตัวเอง จากอันตรายของแสงแดดหรือโรคภัย
ดอกสกัดสีมาทำสีประกอบอาหารได้ ดอกมีคุณค่าทางสมุนไพรช่วยปลูกผม ราก บำรุงตาลดอาการของโรคทางสายตา แก้ตาฟาง ตาแฉะ  ปรุงเป็นยาขับปัสสาวะ รากใช้ถูฟันแก้ปวดฟัน
ประโยชน์ที่ร่างกายจะได้รับ
คุณค่าทางอาหาร    สารอาหารให้สารสีฟ้า ซึ่งเป็นสารต้านอนุมูลอิสระ ป้องกันความเสื่อมของร่างกาย บำรุงผมให้สีเข้มเสมอ บำรุงสายตาป้องกันอันตรายจากแสงจ้า ลดความเสี่ยงจากการเกิดโรคร้าย
คุณค่าทางยา         
ดอกมีคุณค่าทางสมุนไพรช่วยปลูกผม ราก บำรุงสายตา ลดอาการของโรคทางสายตา เช่น ตาฟาง ตาแฉะ ตาอักเสบ ตาเสื่อมจากเบาหวานปรุงเป็นยาขับปัสสาวะ
คำแนะนำ
  • เลือก อัญชันสีน้ำเงิน เชื่อว่าสารอาหารจะมีมากกว่าสีอื่น และยังสวยงามเวลาทำเป็นน้ำอัญชัน
  • หากมีดอกสดมาก สามารถผึ่งในที่ร้อนและแห้ง โดยไม่โดนแดดจัด รอให้แห้ง เก็บไว้ในโถปิดสนิท จะใช้ได้ประมาณ 6 เดือน
  • ใช้ดอกแห้ง สัก 10 ดอก/แก้ว แทนดอกสด 5 ดอก ใช้ดอกแห้งเรียกว่าชาอัญชัน จะไม่มีกลิ่นเหม็นเขียว และไม่มีรสชาติ สามารถปรุงแต่งรสได้ตามชอบ เช่น น้ำผึ้ง,น้ำตาล,น้ำมะนาว เป็นต้น

0 ความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น